ยานอวกาศไร้มนุษย์
- ถูกออกแบบเป็นแบบมีมนุษย์แต่นำไปใช้บินอย่างยานอวกาศที่ไร้มนุษย์เท่านั้น
- Zond/L1 – แคปซูลบินผ่านดวงจันทร์
- L3 – แคปซูลและยานลงดวงจันทร์
- TKS – แคปซูล
- Buran -- กระสวยของโซเวียต
- กึ่งมีมนุษย์ – มีมนุษย์อย่างสถานีอวกาศหรือส่วนของสถานีอวกาศ
- Progress – ยานอวกาศบรรทุกสินค้าของ USSR/Russia แบบไร้มนุษย์
- TKS – ยานอวกาศบรรทุกสินค้าและโมดูลสถานีอวกาศของ USSR/Russia แบบไร้มนุษย์
- Automated Transfer Vehicle (ATV) – ยานอวกาศบรรทุกสินค้าแบบไร้มนุษย์ของยุโรป
- H-II Transfer Vehicle (HTV) – ยานอวกาศบรรทุกสินค้าแบบไร้มนุษย์ของญี่ปุ่น
- Dragon (ยานอวกาศ) - ยานอวกาศแบบไร้มนุษย์ส่วนบุคคล (SpaceX)
- ดาวเทียมวงโคจรโลก
- Explorer 1 – ดาวเทียมดวงแรกของสหรัฐ
- Project SCORE – ดาวเทียมสื่อสารดวงแรก
- Solar and Heliospheric Observatory (SOHO) - โคจรรอบดวงอาทิตย์ใกล้ L1
- Sputnik 1 – ดาวเทียมดวงแรกของโลก
- Sputnik 2 – สัตว์ตัวแรกในวงโคจร (ไลก้า)
- Sputnik 5 – แคปซูลตัวแรกที่กู้ได้จากวงโคจร (ตัวที่มาก่อน Vostok ) – สัตว์รอดชีวิต
- Syncom – ดาวเทียมสื่อสารแบบ geosynchronous ดวงแรก
- Hubble Space Telescope – การสำรวจวงโคจรที่ใหญ่ที่สุด
- Boeing X-37]] – spaceplane
ณ เดือนมิถุนายน 2011, มียานอวกาศมากกว่า 2,000 ลำในวงโคจร
- สำรวจดวงจันทร์
- Clementine probe – ปฏิบัติการของนาวีสหรัฐ, วงโคจรดวงจันทร์, ไฮโดรเจนถูกตรวจพบที่ขั้ว
- Kaguya (SELENE) (orbiter) JPN – วงโคจรดวงจันทร์
- Luna 1 – บินผ่านดวงจันทร์ครั้งแรก
- Luna 2 – กระทบดวงจันทร์ครั้งแรก
- Luna 3 – ภาพแรกของดวงจันทร์ด้านไกล
- Luna 9 – ลงจอดนุ่มบนดวงจันทร์ครั้งแรก
- Luna 10 Orbiter – วงโคจรดวงจันทร์ลำแรก
- Luna 16 – ยานกู้คืนตัวอย่างจากดวงจันทร์แบบไร้มนุษย์
- Lunar (orbiter) – ชุดของความสำเร็จอย่างมากของยานอวกาศที่ทำแผนที่ดวงจันทร์
- Lunar Prospector – การตรวจพบไฮโดรเจนที่ขั้วของดวงจันทร์ได้รับการยืนยัน
- Lunar Reconnaissance Orbiter – บ่งชี้สถานที่ลงจอดที่ปลอดภัยและตำแหน่งของทรัพยากรบนดวงจันทร์
- Lunokhod - ยานตระเวนของโซเวียต
- SMART-1 ESA – กระทบดวงจันทร์
- Surveyor – ยานลงจอดนุ่มลำแรกของสหรัฐ
- Chandrayaan 1 – ปฏิบัติการดวงจันทร์ครั้งแรกของอินเดีย
- สำรวจดาวเคราะห์
- Akatsuki (orbiter) JPN – สำรวจดาวศุกร์
- Cassini–Huygens (orbiter) – สำรวจดาวเสาร์ลำแรก + ลงจอดบน Titan (บริวารดาวเสาร์)
- Curiosity rover - ยานตระเวนส่งไปดาวอังคารโดยนาซาในปี 2012
- Galileo (orbiter) – ยานสำรวจดาวพฤหัสบดีลำแรก+ทดสอบการร่อนลง
- IKAROS JPN – ยานอวกาศที่ใช้พลังงานจากดวงอาทิตย์ลำแรก
- Mariner 4 – บินผ่านดาวอังคารลำแรก, ภาพใกล้และคมชัดสูงของดาวอังคาร
- Mariner 9 (orbiter) – ยานสำรวจดาวอังคารดวงแรก
- Mariner 10 – บินผ่านดาวพุธลำแรก, ภาพใกล้ชิดภาพแรก
- Mars Exploration Rover – ตระเวนดาวอังคาร
- Mars Express (orbiter) – สำรวจดาวอังคาร
- Mars Global Surveyor (orbiter) – สำรวจดาวอังคาร
- Mars Reconnaissance Orbiter – เป็น orbiter สำรวจดาวอังคารที่ให้ข้อมูลภูมิอากาศ, ภาพถ่าย, ข้อมูลเรดาร์พื้นผิวล่างและการสื่อสารที่ก้าวหน้า
- MESSENGER – ยานแบบ orbiter ที่สำรวจดาวพุธลำแรก(ไปถึงปี 2011)
- Mars Pathfinder – ยานลงจอดดาวอังคาร + ยานตระเวน
- New Horizons – บินผ่านดาวพลูโตลำแรก (ไปถึงปี 2015)
- Pioneer 10 – บินผ่านดาวพฤห้สบดีลำแรก, ภาพใกล้ชิดครั้งแรก
- Pioneer 11 – บินผ่านดาวพฤห้สบดีลำที่สอง + บินผ่านดาวเสาร์ครั้งแรก (ภาพใกล้ชิดดาวเสาร์ครั้งแรก)
- Pioneer Venus – ยานแบบ orbiter สำรวจดาวศุกร์ลำแรก+ยานลงจอด
- Vega 1 – บอลลูนปล่อยเข้าสู่บรรยากาศของดาวศุกร์และยานลงพื้น (ปฏิบัติการร่วมกับ Vega 2), ยานแม่บินต่อไปยังดาวหางฮัลเลย์
- Venera 4 – ลงพื้นนุ่มนวลครั้งแรกบนดาวเคราะห์อื่น (ดาวศุกร์)
- Viking 1 – ลงพื้นนุ่มนวลครั้งแรกบนดาวอังคาร
- Voyager 2 – บินผ่านดาวพฤหัส + บินผ่านดาวเสาร์ + บินผ่าน/ภาพของดาวเนปจูนและดาวยูเรนัสครั้งแรก